กานดา นาคน้อย: ปัญหาของร่าง พ.ร.บ.เงินกู้ 2 ล้านล้าน
เสื้อแดงต้องอ่านของคนเสื้อ แดงอย่างคุณกานดา นาคน้อย บ้างนะคะ อย่าโง่ดักด่านเป็นกบในกะลา เบิ่งตามาอ่านของเธอบ้างนะค ะ เธอมีข้อมูล เธอมีความรู้ และเข้าใจระบบได้ดี มีเหตุและผล ไม่ใช่ตะแบงสนับสนุนพวกเดีย วกันให้ลงเหว ดึงประเทศให้ฉิบหาย ขอชมเชยด้วยใจจริงๆ เสียสละอ่านและแชร์นะคะ
*ปัญหาของร่าง พ.ร.บ.เงินกู้ 2 ล้านล้าน*
*ปัญหาของร่าง พ.ร.บ.เงินกู้ 2 ล้านล้าน*
กานดา นาคน้อย
28 มีนาคม 2556
วันนี้รัฐบาลนำร่าง พ.ร.บ.เงินกู้เพื่อลงทุนโคร งสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งมูลค่า 2 ล้านล้านเข้าอภิปรายในรัฐสภ า มูลค่าโครงการนี้สูงถึง 20% ของผลผลิตประชาชาติทั้งปี พอๆ กับงบประมาณรัฐบาลต่อปี
ดิฉันเห็นด้วยกับการสร้างโค รงสร้างพื้นฐานด้วยระบบรถไฟ ฟ้ารางคู่ รถไฟฟ้าความเร็วสูง และรถไฟฟ้าในเขตกทม.และปริม ณฑล แต่ไม่เห็นด้วยกับการ“รีบร้ อน”ผ่านร่าง พ.ร.บ.ฉบับนี้เพื่อระดมทุน เนื่องจากรายละเอียดที่รมว. คมนาคมและผู้อำนวยการสำนักง านนโยบายและแผนการขนส่งและจ ราจร(สนข.)เปิดเผยกับสื่อมว ลชนขัดแย้งกับข้อเท็จจริง บางประเด็นก็ขัดแย้งกันเอง
ทั้งๆ ที่เป็นโครงการเดียวกัน หลายประเด็นก็คลุมเครือมา
1. ในรายการ Wakeup Thailand เมื่อวานนี้ รมว.คมนาคมเสนอว่าประเทศอื่ นเขาก็กู้กันแบบนี้ [1]http://www.youtube.com/ watch?v=eSSbFFcNOhE
ข้อเสนอดังกล่าวมีปัญหาดังนี้
1. โครงการสร้างรถไฟฟ้าความเร็ วสูงที่ไต้หวันใช้วิธีให้สั มปทานแบบ Build-Operate-Transfer (BOT) คือเอกชนที่รับสัมปทานเป็นผู้ออกแบบ ก่อสร้าง บริการจัดการ และเมื่อครบกำหนดสัญญาแล้วก็โอนกิจการและทรัพย์สินคืนแ ก่รัฐบาล ตั้งแต่ประมูลได้จนทดลองขับ เคลื่อนรถไฟฟ้าความเร็วสูงที่ไต้หวันใช้เวลา 8 ปี [2]http://www.thsrc.com.tw/ en/about/ab_comp.asp
2. เกาหลีใต้ตั้งบริษัทร่วมทุน ระหว่างรัฐและภาคเอกชนเพื่อ สร้างรถไฟฟ้าความเร็วสูงโดย มีเงื่อนไขให้บริษัทร่วมทุน กู้เองด้วย รัฐบาลเอางบประมาณมารับภาระ หนี้สิน 55% ของราคาโครงการเท่านั้น [3] ต่างจากข้อเสนอของร่าง พ.ร.บ.นี้ที่รัฐบาลไทยเอางบ ประมาณมาแบกรับภาระหนี้สิน 100% (ของค่าราง ค่าเดินรถยังไม่ได้ตัดสินใจ ประเด็นนี้ขอยกไปภายหลัง)
3. ในอดีตที่สหรัฐฯ บริษัทเอกชนระดมทุนทำรถไฟฟ้ าข้ามมลรัฐเอง บริษัทที่ขาดทุนโดนรัฐบาลเข ้าไปเทคโอเวอร์ให้เป็นรัฐวิ สาหกิจในภายหลัง บริษัทที่ไม่ขาดทุนคือบริษั ทรถไฟฟ้าที่ขนส่งสินค้า [3] http://www.jrtr.net/ jrtr40/f08_kim.html
4. รัฐบาลญี่ปุ่นและอังกฤษลงทุ นทำโครงการรถไฟฟ้าทางคู่และ
รถไฟฟ้าความเร็วสูงเอง แต่เดินรถขาดทุนจนโดนแปรรูป [4] http:// www.theatlanticcities.com/ commute/2011/10/ why-tokyos-privately-owned- rail-systems-work-so-well/ 389/
และ [5] http:// www.theatlanticcities.com/ commute/2012/09/ why-britains-railway-privat ization-failed/3378/
5.ญี่ ปุ่น เกาหลีใต้ อังกฤษ และทุกประเทศที่มีรถไฟฟ้าคว ามเร็วสูงในยุโรปมีการจัดเก ็บภาษีทรัพย์สิน ดังนั้นเจ้าของที่ดินที่มูล ค่าสูงขึ้นเพราะอยู่ใกล้เคร ือข่ายรถไฟฟ้าเสียภาษีเข้าค ลังมากกว่าเจ้าของที่ดินที่ อยู่ไกลจากเครือข่ายรถไฟฟ้า แต่ไทยไม่มีการเก็บภาษีทรัพ ย์สิน ทำให้การแบกภาระการใช้หนี้ใ นอนาคตไม่เป็นธรรมเท่าต่างป ระเทศ ปัจจุบันโครงสร้างภาษีของไท ยก็ไม่เป็นธรรมอยู่แล้วเพรา ะรายได้ภาษีมาจากภาษีทางอ้อ มที่ผลักภาระไปที่ผู้บริโภค (เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีน้ำมัน) มากกว่าภาษีทางตรง (ภาษีเงินได้ส่วนบุคคลและภา ษีเงินได้นิติบุคคล)
6. รถไฟฟ้ามหานครในญี่ปุ่นส่วน ใหญ่ลงทุนและบริหารโดยเอกชน รัฐบาลสนับสนุนด้วยการให้กู ้ด้วยอัตราดอกเบี้ยต่ำกว่าต ลาด[6]http:// www.theatlanticcities.com/ commute/2011/10/ why-tokyos-privately-owned- rail-systems-work-so-well/ 389/
2. รมว.คมนาคมปฎิเสธข้อเสนอของ รัฐบาลจีนซึ่งเสนอให้ร่วมทุ นด้วยกันด้วยเหตุผลที่ว่าตา มหลักเศรษฐศาสตร์ไม่มีของฟร ีในโลก (No free lunch) จะทำให้มีข้อจำกัดและเงื่อน ไขตามมา
ข้อเสนอนี้มีปัญหาดังนี้
1. ไม่มีหลักประกันว่าการลงทุน เอง 100% หรือร่วมทุนกับเอกชนสัญชาติ เดียวกันจะทำให้กำไรมากกว่า ร่วมทุนกับรัฐบาลต่างชาติ ที่สำคัญ เอกชนสัญชาติเดียวกันมีแค่บ ริษัทบีทีเอสที่มีประสบการณ ์ในการบริหารรถไฟฟ้า ไม่มีบริษัทไทยที่มีประสบกา รณ์บริหารรถไฟฟ้าความเร็วสู ง
2. ตราบใดที่ยังอยากบริโภคเทคโ นโลยีที่ตนผลิตเองไม่ได้หรื อไม่มีเงินมากพอจะไปซื้อหุ้ นบริษัทเจ้าของเทคโนโลยี ความอิสระทางเศรษฐกิจเป็นเร ื่องโรแมนติกเพ้อฝัน ไม่ว่าระดมทุนแบบไหน ซื้อเทคโนโลยีจากประเทศไหนก ็ไม่ใช่ของฟรีทั้งนั้น ถ้าฟรีจะต้องกู้ 2 ล้านล้านหรือ? ซื้อเทคโนโลยีจากใครก็จะมีข ้อจำกัดและเงื่อนไขด้านการซ ่อมแซมและอะไหล่ต่อไป
3. รมว.คมนาคมเสนอว่าโครงการนี ้เน้นการทำรางทั้งในเขตกทม. รางคู่ทั่วประเทศและรางรถไฟ ฟ้าความเร็วสูง ส่วนตัวรถไฟฟ้าอาจจะให้เอกช นเข้ามาลงทุน ต้องไปคิดให้ตกผลึกว่าใครจะ เป็นคนเดินรถ
ข้อเสนอดังกล่าวมีปัญหาดังน ี้
1. ถ้ายังวางแผนกันไม่เสร็จ ยังไม่ตกผลึกไปถึงจุดที่ว่า เดินรถได้ แล้วสรุปได้อย่างไรว่าจะคิด ค่าตั๋วเท่าไรจะลดต้นทุนการ ขนส่งได้เท่าไร? ถ้าจะทำแบบให้สัมปทานทำไมไม ่คิดให้เสร็จไปเลยแบบไต้หวั น? ถ้ายังไม่ตกผลึกก็ไม่จำเป็น ต้องออกพ.ร.บ.กู้ล่วงหน้าผู กพันด้วยมูลค่ามหาศาลแบบนี้
2. เมื่อพยายามหาข้อมูลเกี่ยวก ับองค์กรที่จะบริหารรถไฟฟ้า ความเร็วสูงในอนาคต พบข่าวในสัปดาห์นี้ว่ายังอย ู่ในขั้นเตรียมตัวจัดตั้งบร ิษัท กระทรวงการคลังจะถือหุ้นใหญ ่ การรถไฟแห่งประเทศไทย(รฟท.) จะถือหุ้น 5%-10% [8]http://www.home.co.th/ Content/DataDetail/73250 แต่ไม่พบรายละเอียดว่าบริษั ทนี้จะบริหารแต่รางหรือจะบร ิหารการเดินรถในอนาคตด้วย
3. ขัดแย้งกับบทสัมภาษณ์ของผอ. สนข. เมื่อวันที่ 28 พย. 2555 ผอ.สนข.เสนอว่าจะใช้โมเดลญี ่ปุ่น [9] ลักษณะสำคัญของโมเดลญี่ปุ่น คือไม่แยกรางออกจากบริษัทเด ินรถ ผอ.สนข.เสนอด้วยว่าจะบริหาร รถไฟฟ้าความเร็วสูงด้วยรัฐว ิสาหกิจ เป็นไปได้ว่ารัฐบาลยิ่งลักษ ณ์อาจจะไม่เห็นด้วยกับข้อเส นอของผอ.สนข. แต่ถ้าผู้สื่อข่าวรายงานไม่ ผิดก็แปลว่าสนข.เข้าใจผิด ทั้งๆที่สนข.รับผิดชอบวางแผ นโครงการนี้มานาน ไปดูงานกันที่ญี่ปุ่นแต่ผอ. สนข.ยังไม่เข้าใจว่ารัฐบาลญี่ปุ่นแปรรูปรถไฟฟ้ารางคู่แ ละรถไฟฟ้าความเร็วสูงที่เรี ยกว่าชิงคังเซ็นให้เป็นเอกช น 100% ไปแล้วหลายสายโดยเฉพาะสายสำ คัญที่สุดที่เชื่อมโตเกียวแ ละโอซาก้า [10] [11] รัฐบาลญี่ปุ่นยังไม่มีแผนล้ มเลิกการแปรรูปสายย่อย(ทั้ง รถไฟฟ้าโดยสารและรถไฟฟ้าขนส ่งสินค้า)ที่ยังเป็นรัฐวิสา หกิจ ที่ยังไม่ขายหุ้นเพราะต้องร อจังหวะขายหุ้น แผนการการแปรรูปรถไฟฟ้ารางค ู่และรถไฟฟ้าความเร็วสูงที่ ญี่ปุ่นเริ่มมาตั้งแต่ปีพศ. 2530 สาเหตุคือขาดทุนและมีหนี้สิ นมาก [12] [13] ในขณะที่รถไฟฟ้าในเขตมหานคร ของเอกชนบริหารได้กำไรดี อย่างไรก็ดี ทั้งก่อนแปรรูปและหลังแปรรู ป โมเดลญี่ปุ่นไม่เคยแยกรางออ กจากการเดินรถ
5. สหรัฐฯ ก็ไม่แยกรางรถไฟฟ้ารางคู่แล ะการเดินรถออกจากกัน เคยมีความพยายามแยกออกจากกั นเพื่อแปรรูปรัฐวิสาหกิจรถไ ฟฟ้าข้ามมลรัฐแต่โครงการแปร รูปล้มเลิกไป รัฐวิสาหกิจดังกล่าวเคยเป็น บริษัทเอกชนหลายบริษัทที่รั ฐบาลเทคโอเวอร์ให้เป็นรัฐวิ สาหกิจตั้งแต่ 40 ปีที่แล้ว
6. อังกฤษแยกรางรถไฟฟ้าทางคู่แ ละการเดินรถออกจากกันตอนแปร รูปเป็นเอกชน (เพราะรัฐทำแล้วขาดทุน) แต่สุดท้ายรางก็กลับมาเป็นร ัฐวิสาหกิจอีกครั้งแล้วการเ ดินรถเป็นเอกชน มีปัญหาหลายอย่างจนกระทั่งร ัฐบาลเมืองลอนดอนตัดสินใจซื ้อรถไฟฟ้าใต้ดินกลับคืนมาบร ิหารเองจนครบทุกสายเมื่อ 3 ปีที่แล้ว [5] ส่วนรถไฟฟ้านอกลอนดอนยังแยก รางและตัวรถต่อไปแม้จะยังมี ปัญหาที่แก้ไม่ได้ ประเทศยุโรปที่มีแผนจะแปรรู ปกิจการรถไฟก็จับตามองโมเดล อังกฤษว่าจะแก้ปัญหากันต่อไ ปอย่างไร
กลับมาที่โมเดลญี่ปุ่นที่กน ข.ชื่นชม ญี่ปุ่นรวยกว่าไทยและมีเทคโ นโลยีรถไฟฟ้าของตัวเองยังทำ รถไฟฟ้าความเร็วสูง“ทีละสาย ” พอวางรางเสร็จเดินรถเลยพลเม ืองญี่ปุ่นได้นั่งรถไฟฟ้าคว ามเร็วสูงทีละสาย พลเมืองไทยจะได้ประโยชน์อะไ รจากการวางรางรถไฟฟ้าความเร ็วสูงไปทั่วประเทศทุกสาย? ได้ดูราง
รถไฟฟ้าความเร็วสูงที่ไม่มี รถวิ่งหรือ?
4. รมว.คมนาคมเสนอว่าจะลดต้นทุ นการขนส่งปีละ 2 แสนล้าน
ข้อเสนอนี้มีปัญหาดังนี้
1. คำนวณกันยังไงทั้งๆที่ยังไม ่ได้วางแผนจนตกผลึกว่าใครจะ รับผิดชอบเดินรถ? เอาตัวเลขประเมินการลดต้นทุ นมาจากประเทศอื่นหรือเปล่า? ถ้าเอามาจากประเทศอื่น ประเทศนั้นบริหารด้วยโมเดลไ หน?
2. ในทางสถิติตัวเลขนี้น่าจะเป ็นค่าเฉลี่ย แล้ว standard error ของการประเมินเท่าไร? ระยะเวลาคุ้มทุนอยู่อยู่ในช ่วงเวลากี่ปี?
3. สมมุติว่าเฉลี่ยแล้วลดได้ปี ละ 2 แสนล้าน แล้วแบ่งกันยังไง? ลดต้นทุนการขนส่งวัตถุดิบแล ะผลผลิตแล้วจะส่งผ่านส่วนลด ไปให้ผู้บริโภคเท่าไร? กลายเป็นรายได้ภาษีเข้าคลัง เท่าไร? ผู้ผลิตและ distributor กักกำไรจากการลดต้นทุนไว้กะ ตัวเท่าไร?
4. คำนวณไปถึงความเสี่ยงด้านรา คาของพลังงานไฟฟ้าแล้วหรือย ัง? จะเพิ่มการนำเข้าไฟฟ้าแบบมา กมายมหาศาล? หรือว่าไทย
จะทำโรงไฟฟ้าเพิ่ม?
5. รมว.คมนาคมเสนอว่าอาจจะคุ้ม ทุนเร็วใช้หนี้ได้เร็วแบบใช ้หนี้ไอเอ็มเอฟ
ข้อเสนอนี้มีปัญหาตรงที่ว่า
1. ส่วนที่จ่ายก่อนกำหนดในเดือ นกค.ปี 2546 นั้นคืองวดสุดท้ายและจ่าย 96 ล้านเหรียญสหรัฐ [14] ถ้าคิดด้วยอัตราแลกเปลี่ยนต อนนั้น 42 บาทต่อดอลลาร์แล้วคิดเป็น 4 พันล้านบาท1 ใน 500 ของเงินกู้ 2 ล้านล้านในร่างพ.ร.บ.ฉบับนี ้เท่านั้น การยกหนี้ไอเอ็มเอฟมาอ้างอิ งคือการบิดเบือนข้อมูลเพราะ ตัวเลขแตกต่างกันถึง 500 เท่า
2. หนี้ไอเอ็มเอฟเป็นหนี้ที่กู ้มาเสริมเงินทุนสำรองระหว่า งต่างประเทศ โดยกลไกทางเศรษฐศาสตร์แล้วเ มื่อเงินบาทตกทำให้ราคาสินค ้าไทยได้เปรียบในตลาดโลก เมื่อส่งออกมากขึ้นเงินตราต ่างประเทศก็ไหลเข้าประเทศโด ยธรรมชาติทำให้ทุนสำรองระหว ่างประเทศเพิ่มขึ้น เมื่อดูสถิติส่งออกตลาดสหรั ฐฯซึ่งได้รับอานิสงฆ์จากค่า เงินบาทโดยตรง ยอดส่งออกสุทธิจากไทยพุ่งขึ ้นสูงหลังปีที่เงินบาทตกแล้ วค่อนข้างคงที่จนถึงปีที่รั ฐบาลทักษิณใช้หนี้ไอเอ็มเอฟ งวดสุดท้าย[15] ด้วยเหตุนี้ ยากที่จะบอกว่า
รัฐบาลทักษิณทำให้ส่งออกได้ มากกว่ารัฐบาลก่อนหน้านั้น
บทสรุป
ดิฉันคิดว่ารมว.คมนาคมและผอ .กนข.ยังตอบโจทย์ไม่เสร็จ ดังนั้นรัฐบาลไม่น่าจะรีบร้ อนเสนอร่าง พ.ร.บ.กู้เงินฉบับนี้ในรัฐส ภา รมว.คมนาคมเสนอว่าจะดึงภาคเ อกชนเข้ามีมีส่วนร่วมในอนาค ตเพื่อสร้างความโปร่งใส ทั้งๆ ที่ถ้า รมว.คมนาคมอยากดึงใครเข้ามา เพื่อสร้างความโปร่งใสก็ดึง ได้เลยตอนนี้ไม่ต้องรอไปถึง อนาคต ที่สำคัญที่สุดคือดึงผู้เชี ่ยวชาญที่กนข.เข้ามาสร้างคว ามโปร่งใสด้านรายละเอียดของ โครงการ และให้เวลาประชาชนทำความเข้ าใจและตั้งคำถามกันในวงกว้า งก่อนที่จะตัดสินใจเรื่อง
วิธีการระดมทุน
***ที่มา จากเวปประชาไท ต้องแก๊ฟไว้ก่อน เดี๋ยวแวปเนี้ยมันจะลบถ้าเป็นภัยต่อนายก กิกิ
http:// www.prachatai3.info/ journal/2013/03/46008
__________________________ _____
[1] http://www.youtube.com/ watch?v=eSSbFFcNOhE
[2] http://www.thsrc.com.tw/ en/about/ab_comp.asp
[3] http://www.jrtr.net/ jrtr40/f08_kim.html
[4] http:// www.theatlanticcities.com/ commute/2011/10/ why-tokyos-privately-owned- rail-systems-work-so-well/ 389/
[5] http:// www.theatlanticcities.com/ commute/2012/09/ why-britains-railway-privat ization-failed/3378/
[6] http:// www.theatlanticcities.com/ commute/2011/10/ why-tokyos-privately-owned- rail-systems-work-so-well/ 389/
[7] http://www.bloomberg.com/ news/2012-08-26/ u-s-taxpayers-are-gouged-on -mass-transit-costs.html
[8] http://www.home.co.th/ Content/DataDetail/73250
[9] http://www.prachachat.net/ news_detail.php?newsid=1354 077994&grpid=00&catid=07&s ubcatid=0700
[10] http:// www.japantimes.co.jp/news/ 2006/04/06/business/ privatization-of-jr-tokai-c omplete-after-20-years/ #.UVP8-Rxqn-o
[11] http:// english.jr-central.co.jp/ company/ir/factsheets/_pdf/ factsheets2012-17.pdf
[12]http://www.jrtr.net/ jrtr08/pdf/f04_nak.pdf
[13] http://www.jrtr.net/ jrtr47/pdf/f26_Jap.pdf
[14] http://www.imf.org/ external/np/sec/pr/2003/ pr03131.htm
[15] http://www.census.gov/ foreign-trade/balance/ c5490.html
28 มีนาคม 2556
วันนี้รัฐบาลนำร่าง พ.ร.บ.เงินกู้เพื่อลงทุนโคร
ดิฉันเห็นด้วยกับการสร้างโค
ทั้งๆ ที่เป็นโครงการเดียวกัน หลายประเด็นก็คลุมเครือมา
1. ในรายการ Wakeup Thailand เมื่อวานนี้ รมว.คมนาคมเสนอว่าประเทศอื่
ข้อเสนอดังกล่าวมีปัญหาดังนี้
1. โครงการสร้างรถไฟฟ้าความเร็
2. เกาหลีใต้ตั้งบริษัทร่วมทุน
3. ในอดีตที่สหรัฐฯ บริษัทเอกชนระดมทุนทำรถไฟฟ้
4. รัฐบาลญี่ปุ่นและอังกฤษลงทุ
รถไฟฟ้าความเร็วสูงเอง แต่เดินรถขาดทุนจนโดนแปรรูป
และ [5] http://
5.ญี่ ปุ่น เกาหลีใต้ อังกฤษ และทุกประเทศที่มีรถไฟฟ้าคว
6. รถไฟฟ้ามหานครในญี่ปุ่นส่วน
2. รมว.คมนาคมปฎิเสธข้อเสนอของ
ข้อเสนอนี้มีปัญหาดังนี้
1. ไม่มีหลักประกันว่าการลงทุน
2. ตราบใดที่ยังอยากบริโภคเทคโ
3. รมว.คมนาคมเสนอว่าโครงการนี
ข้อเสนอดังกล่าวมีปัญหาดังน
1. ถ้ายังวางแผนกันไม่เสร็จ ยังไม่ตกผลึกไปถึงจุดที่ว่า
2. เมื่อพยายามหาข้อมูลเกี่ยวก
3. ขัดแย้งกับบทสัมภาษณ์ของผอ.
5. สหรัฐฯ ก็ไม่แยกรางรถไฟฟ้ารางคู่แล
6. อังกฤษแยกรางรถไฟฟ้าทางคู่แ
กลับมาที่โมเดลญี่ปุ่นที่กน
รถไฟฟ้าความเร็วสูงที่ไม่มี
4. รมว.คมนาคมเสนอว่าจะลดต้นทุ
ข้อเสนอนี้มีปัญหาดังนี้
1. คำนวณกันยังไงทั้งๆที่ยังไม
2. ในทางสถิติตัวเลขนี้น่าจะเป
3. สมมุติว่าเฉลี่ยแล้วลดได้ปี
4. คำนวณไปถึงความเสี่ยงด้านรา
จะทำโรงไฟฟ้าเพิ่ม?
5. รมว.คมนาคมเสนอว่าอาจจะคุ้ม
ข้อเสนอนี้มีปัญหาตรงที่ว่า
1. ส่วนที่จ่ายก่อนกำหนดในเดือ
2. หนี้ไอเอ็มเอฟเป็นหนี้ที่กู
รัฐบาลทักษิณทำให้ส่งออกได้
บทสรุป
ดิฉันคิดว่ารมว.คมนาคมและผอ
วิธีการระดมทุน
***ที่มา จากเวปประชาไท ต้องแก๊ฟไว้ก่อน เดี๋ยวแวปเนี้ยมันจะลบถ้าเป็นภัยต่อนายก กิกิ
http://
__________________________
[1] http://www.youtube.com/
[2] http://www.thsrc.com.tw/
[3] http://www.jrtr.net/
[4] http://
[5] http://
[6] http://
[7] http://www.bloomberg.com/
[8] http://www.home.co.th/
[9] http://www.prachachat.net/
[10] http://
[11] http://
[12]http://www.jrtr.net/
[13] http://www.jrtr.net/
[14] http://www.imf.org/
[15] http://www.census.gov/
Cradit : facebook ใจบางบาง ใยไหม หญิงในเชิงบวก แล้วก็ http://www.prachatai3.info/journal/2013/03/46008 ครับ
ผมก็อยากจะให้ คนอื่น ได้ เห็น ได้ อ่าน ได้ คิดตาม แบบที่ผมคิดเอาไว้ ก็เลยขอ Copy มาเผื่อ การศึกษา และผมได้ ปรับแต่ง ลิ้ค URL สำหรับ 1-15 ให้ด้วยนิดหน่อยนะครับ By Boyziila
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น